วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

18 กุมภาพันธ์ 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  11.30 - 14.00 น.


            วันนี้อาจารย์ได้พูดงานที่ค้างให้ทำให้ครบเรียบร้อยและได้ให้ส่งวิจัย ใครที่ยังไม่ส่งวันนี้ พรุ่งนี้ให้ส่งงานวิจัยก่อนบ่ายโมงและได้พูดถึงการออกสังเกตการณ์สอน ช่วงชั้นปีที่4 อาจารย์ได้โมคะเพราะไม่ยุติธรรมกับเพื่อนบางกลุ่ม บางเซ็ก เนื่องจากเพื่อนบางกลุ่มไม่รู้ และได้นัดให้มาประชุมวันที่ 19/2/57 เวลา 13.00 – 15.00 .   .ตึกกาญจนาภิเษกเพื่อชี้แจงงานต่างๆและให้นักศึกษาปีที่ 4 ได้เลือกโรงเรียนกันใหม่แล้วอาจารย์ได้แจกข้อสอบให้ไปทำเป็นการบ้าน ( ห้ามลอกกันห้ามหาเว็บไซต์ ) ให้ส่งภายในวันที่ 1 /3/57 และหลังจากนั้นได้ปล่อยให้นักศึกษาไปจัดนิทรรศการที่ห้อง 223


วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557


11 กุมภาพันธ์ 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  11.30 - 14.00 น.

เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ LD
            1. การดูแลให้ความช่วยเหลือ
·      สร้างความภาคภูมิใจใจตนเอง
·      มองหาจุดดีจุดแข็งและให้คำชมอยู่เสมอ
·      การเสริมแรงทางบวก
·      รู้จักลักษณะของเด็กที่เป็นสัญญาณเตือน
·      วางแผนการจัดทำแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกบการเรียนรู้ของเด็ก
·      สังเกตความสามารถและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
·      IEP
            2. การรักษาด้วยยา
·      Ritalin
·      Dexedrine
·      Cylext
            หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
·      สศศ. สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ
·      มีหน้าที่ช่วยเหลือประสานงานและส่งตัวเด็ก
·      โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
·      ศูนย์การศึกษาพิเศษ  Early Intervention ย่อมาจาก EI
·      โรงเรียนเฉพาะความพิการ

·      สถาบันราชานุกูล

วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

4 กุมภาพันธ์ 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  11.30 - 14.00 น.


        การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
·      รักษาตามอาการ
·      แก้ไขความผิดปกติที่พบร่วมด้วย
·      ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
·      เน้นการดูแลแบบองค์รวม holistic approach
1.           ด้านสุขภาพอนามัย
2.           ด้านส่งเสริมพัฒนาการ
3.           การดำรงชีวิตประจำวัน
4.           การฟื้นฟูสมรรถภาพ
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการการศึกษา
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
            การเลี้ยงดูช่วง 3 เดือนแรก
การปฏิบัติของบิดามารดา
·      ยอมรับความจริง
·      เด็กกลุ่มอาการดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้นตอน
·      ให้ความรักและความอบอุ่น
·      การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูก และเต้านม
·      การคุมกำเนิดและการทำหมัน
·      การสอนเพศศึกษา
·      ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
·      พัฒนาทักษะด้านต่างๆ
·      สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเอง
·      สังคมยอมรับมากขึ้น
·      คุณภาพชีวิตดีขึ้น
ส่งเสริมความแข็งแรงครอบครัว
·      ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุด
ส่งเสริมความสามารถเด็ก
·      การส่งเสริมโอกาสให้เด็กได้เล่น
·      ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
การปรับพฤติกรรมและฝึกษะทางสังคม
·      เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสม
·      การให้แรงเสริม
การฝึกพูด
·      ลดการใช้ภาษที่ไม่เหมาะสม
·      ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าว
·      การสื่อความหมายทดแทน AAC
การสื่อความหมายทดแทน Augmentativ and Alternative Communication ; AAC
การส่งเสริมพัฒนาการ
·      ให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
·      เน้นในเรื่องการมองหน้าสบตา  การมีสมาธิ
·      ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่นๆ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
·      เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม
·      แผนการจักการศึกษาเฉพาะบุคคล
·      โรงเรียนเรียนร่วม
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
·      ทักษะในชีวิตประจำวันและการฝึกทักษะสังคม
·      ให้เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเอง
การักษาด้วยยา
·      Methylphenidte (Ritalin) ช่วยลดอาการไม่นิ่ง ซน หุนหันพลันแล่น ขาดสมาธิ
·      Risperidone / Hloperidol ช่วยลดอาการอยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด
·      ยาในกลุ่ม Anionrulsant (ยากันชัก) ใช้ได้ผลในรายที่มีพฤติกรรมกับร้ายตัวเอง
การบำบัดทางเลือก
·      การสื่อความหมายทดแทน AAC
·      ศิลปกรรมบำบัด  Art therapy
·      ดนตรีบำบัด Music therapy
·      การฝังเข็ม  Acupuncture
·      การบำบัดด้วยสัตว์ Animal therapy
พ่อแม่
·      ลูกต้องพัฒนาได้
·      เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร
·      ถ้าเราไม่รักแล้วใครจะรัก
·      หยุดไม่ได้
·      ดูแลจิตใจและร่างกายของตนเองให้เข้มแข็ง
·      ได้กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส

·      ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว

วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

28 มกราคม 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  11.30 - 14.00 น.

หมายเหตุ

          อาจารย์ได้ให้นักศึกษาสอบกลางภาค และดิฉันได้หาเนื้อหาเพิ่มเติม

ความรู้เพิ่มเติม

                    เด็กพิเศษในปัจจุบันนั้นจะมีหลากหลายรูปแบบมาก อย่างเช่น เด็กพิเศษออทิสติก แอสเพอร์เกอร์ แอลดี สมาธิสั้น สมองพิการ และความบกพร่องทางสติปัญญา
วิวัฒนาการแพทย์ปัจจุบันนั้นจะสามารถตรวจหาความผิดปกติในเด็กได้ตั้งแต่ในครรภ์โดยใช้วิธีการตรวจโครโมโซม แต่ความผิดปกติในเด็กบางอย่างนั้น จะต้องเกิดก่อนถึงจะทราบว่าผิดปกติ ซึ่งคุณแม่ที่ตั้งครรภ์ไม่ควรที่จะกังวลเกินหรือวิตกจนเกินเห็นเพราะจะมีผลกระต่อต่อเด็กในครรภ์ได้ ซึ่งวันนี้อยากจะนำข้อมูลอ้างอิงทางการแพทย์มาบอกเล่าให้ทราบกันถึงลักษณะของเด็กพิเศษค่ะ
เด็กพิเศษในปัจจุบันนั้นจะมีหลากหลายรูปแบบมาก อย่างเช่น เด็กพิเศษออทิสติก แอสเพอร์เกอร์ แอลดีสมาธิสั้น สมองพิการ และความบกพร่องทางสติปัญญา เป็นต้น ซึ่งกลุ่มที่คุณพ่อคุณแม่จะสามารถรู้ได้ตั้งแต่ยังไม่เกิดนั้นจะเป็นกลุ่มเด็กที่มีปัญหาความผิดปกติของโครโมโซม เช่นเป็นดาวน์ซินโดรม  จะมีลักษณะผิดปกติทางร่ายกาย ร่วมกับมีความบกพร่องทางสติปัญญา จะสามารถตรวจหาความผิดปกติได้ในช่วงเดือนที่ ของการตั้งครรภ์ ซึ่งความผิดปกติของโครโมโซมนี้จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป วิธีการตรวจสามารถทำได้ด้วยการตรวจอัลตร้าซาวน์
ในกลุ่มที่เกิดมาแล้วค่อยรับรู้ถึงความปกติ จะเป็นกลุ่มเด็กที่มีปัญหาสมองพิการ มีความผิดปกติในการเคลื่อนไหว พัฒนาการเนื้อช้า ซึ่งเป็นสิ่งที่สังเกตได้ไม่ยาก เหมือนในกลุ่มเด็กออทิสติก และเด็กสมาธิสั้น กลุ่มเด็กออทิสติกนั้น จะเริ่มเห็นความแตกต่างได้เมื่อเด็กมีอายุขวบปี ซึ่งจะเล่นกับคนอื่นไม่เป็น ไม่มีจินตนาการร่วมในการเล่นบทบาทสมมุติ แถมยังพูดไม่เป็นคำ แต่จะมีภาษาเฉพาะตัวที่เรียกว่า ภาษาต่างดาว ในเด็กที่สมาธิสั้นนั้น สามารถสังเกตได้ง่าย ๆ ดังนี้คือ เด็กจะไม่อยู่นิ่ง สนใจอะไรได้ไม่นาน ไม่สามารถทำงานเสร็จทันเพื่อน มีผลการเรียนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น และจะเป็นคนชอบเล่นรุนแรง
ในส่วนของปัญหาที่ไม่สามารถรู้ก่อนเกิดได้นั้น คุณพ่อคุณแม่ไม่ควรที่จะเครียดหรือวิตกจริตมากเกินไป ซึ่งหากเครียดมากก็จะยิ่งเสี่ยงให้เด็กเกิดความผิดปกติ ฉะนั้นแล้วคุณแม่ควรดูแลสุขภาพทั้งกายและใจให้ดี ควรที่จะวางแผนก่อนมีลูก เมื่อตั้งครรภ์แล้วควรฝากครรภ์ให้เร็วที่สุด และควรไปตรวจอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความผิดปกติต่าง ๆ คุณแม่ควรที่จะรับประทานอาหารที่มีประโยชน์อย่างเพียงพอ เพื่อให้ลูกได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน การนอนก็เป็นสิ่งสำคัญควรพักผ่อนให้เต็มอิ่ม และไม่ควรทำงานหนักเกินไปเพราะจะเสี่ยงเกิดภาวะแท้งได้ หากคุณแม่มีร่างกายสุขภาพใจที่พร้อมแล้วล่ะก็ เด็กที่เกิดมาก็จะแข็งแรงมีร่างกายครบ 32 และไม่เสี่ยงต่อการเป็นเด็กพิเศษค่ะ



วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557

21 มกราคม 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  11.30 - 14.00 น.

พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
·       การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
·       ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
·       เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
·       พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง
·       พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้า
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
·       ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
·       ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
·       ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
·       ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.            โรคทางพันธุกรรม
            - เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิด มักมีลักษณะผิดปกติแต่กำเนิดร่วมด้วย
2.            โรคของระบบประสาท
            - เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย
            - ที่พบบ่อยคืออาการชัก
3.            การติดเชื้อ
            - การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติอาจมีตับม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก
4.            ความผิดปกติที่เกี่ยวกับเมตตาบอลิซัม
-         โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
5.            ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
-         การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อยและภาวะขาดออกวิเจน
6.            สารคดี
            ตะกั่ว
-         ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
-         มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ
-         ภาวะเป็นพิษ
-         ระดับสติปัญญาต่ำ
            แอลกอฮอร์
-         น้ำหนักแรกเกิดน้อย
-         มีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
-         พัฒนาการทางสติปัญญามีความบกพร่อง
-         เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
Fetal Alcohol syndrome , FAS
-         ช่วงตาสั้น
-         ร่องริมฝีปากบนเรียบ
-         ริมฝีปากบนยาวและบาง
-         หนังคลุมหน้าตามาก
-         จมูกแบนปลายจมูกเชิดขึ้น
            นิโคติน
-         น้ำหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
-         เพื่ออัตราการภายในวัยทารก
-         สติปัญญาบกพร่อง
-         สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
7.            การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
                        อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-         มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า 1 ด้าน
-         ปฏิกิริยาสะท้อน Primifiv reflx  ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
-          
แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
            1. การชักประวัติ
-         โรคประจำตัว โรคทางพันธุกรรม
-         การเจ็บป่วยในครอบครัว
-         ประวัติการฝากครรภ์
-         ปะวัติเกี่ยวกับการคลอด
-         พัฒนาการที่ผ่านมา
-         การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตัวเอง
เมื่อชักประวัติแล้วจะสามารถบอกได้ว่า
-         ลักษณะพัฒนาการล่าช้าเป็นแบบคงที่
-         เด็กมีระดับพัฒนาการช้าหรือไม่
-         มีข้อบ่งชี้
            2. การตรวจร่างกาย
            3. การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
            4. การประเมินพัฒนาการ
            -      การประเมินแบบไม่เป็นทางการ
การประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ
-         แบบทดสอบ Denver ll
-         Gesell Drawing Test
-         แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด – 5 ปี
แนวทางในการดูรักษา
-         หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
-         การตรวจค้นหาความผิดปกติร่วม
-         การรักษาสาเหตุโดยตรง
-         การส่งเสริมพัฒนาการ
-         ให้คำปรึกษากับครอบครัว
ขั้นตอนในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
-         การตรวจคัดกรองพัฒนาการ
-         การตรวจประเมินพัฒนาการ
-         การให้การวินิจฉัยและหาสาเหตุ
-         การให้รักษาปละส่งเสริมพัฒนาการ
-         การติดตามและประเมินผลการรักษาเป็นระยะ

 กลุ่มดิฉนได้นำเสนองานกลุ่ม ชื่อเรื่อง ออทิสติก