12 พฤศจิกายน 2556
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ EAED2209
เวลา 11.30 - 14.00 น.
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความหมาย
1.ทางการแพทย์ มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า “
เด็กพิการ ” sหมายถึง เด็กที่ผิดปกติ
มีความบกพร่องสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา
2.ทางการศึกษา
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ หมายถึง เด็กที่มีความต้องการศึกษาเฉพาะของตัวเอง
ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ แบ่งได้ 2
กลุ่มใหญ่
1.เด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
2.เด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
กระทรวงศึกษาธิการได้แบ่งออก 9 ประเภท
1. เด็กบกพร่องทางสติปัญญา
2. เด็กบกพร่องทางการได้ยิน
3. เด็กบกพร่องทางการเห็น
4. เด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
5. เด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา
6. เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
7. เด็กบกพร่องทางการเรียนรู้
8. เด็กออทิสติก
9. เด็กพิการซ้อน
เด็กบกพร่องมางสติปัญญา Children with
Lntellectual Disadilities หมายถึง
เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์ มี 2
กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้าและเด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
• สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
• เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
• ขาดทักษะในการเรียนรู้
• มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
• มีระดับสติปัญญา (IQ)
สาเหตุของการเรียนช้า
ภายนอก
• เศรษกิจของครอบครัว
• การสร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
• สภาวะด้านอารมณ์ของคนในครอบครัว
ภายใน
• พัฒนาการ
• การเจ็บป่วย
เด็กปัญญาอ่อน
• เด็กที่มีภาวะพัฒนาการหยุดชะงัก
• แสดงลักษณะเฉพาะ คือ มีระดับสติปัญญาต่ำ
• มีความสามรถในการเรียนรู้น้อย
• มีความจำกัดทางด้านทักษะ
• มีพัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
• มีความสารถกำจัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
• ไม่พูดหรือพูดได้ไม่สมวัย
• ช่วงความสนใจสั้น วอกแวก
• ความคิดและอารมณ์
เปลี่ยนแปลงง่าย รอคอยไม่ได้
• ทำงานช้า
• รุนแรง ไม่มีเหตุผล
• อวัยวะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ
เด็กบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง
เด้กที่มีความบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆได้ไม่ชัดเจนมี
2 ประเภท
1.เด็กหูตึง หมายถึง
เด้กที่สูญเสียการได้ยิน แต่สามารถรับข้อมูลได้ เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินระหว่าง 26-40
Db
• จะมีปัญหาในการับฟังเสียงเบาๆ
2.เด็กหูตึงระดับปานกลาง
ได้ยินระหว่าง 41-55 Db
• เด็กจะมีปัญหาในการับฟังเสียงพูดคุยที่ดังในระดับปกติ
• จะไม่ได้ยิน ได้ยินไม่ชัด
จับใจความไม่ได้
• มีปัญหาในการพูดเล็กน้อย
3.เด้กหูตึงระดับมาก
ได้ยินระหว่าง 56-70 Db
• เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังและเข้าใจคำพูด
• มีปัญหาในการรับฟังเสียงหลายเสียงพร้อมกัน
• มีพัฒนาการทางภาษาและการพูดช้ากว่าปกติ
• พูดไม่ชัด เสียงเพี้ยน
บางนไม่พูด
4.เด้กหูตึงระดับรุนแรง
เด็กจะมีปัญหาในการรับฟัง
ได้ยินเฉพาะเสียงที่ดังใกล้หู
การพูดคุยต้องตะโกนหรือใช้เครื่องขยายเสียง
เด็กหูหนวก
• เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดดอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยิน
• ไม่เข้าใจหรือใช้ภาพูดได้
• ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91
Db ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
• ไม่ตอบสนองเสียงพูด
เสียงดนตรี
• ไม่พูด มักแสดงท่าทาง
• พูดไม่ถูกหลักไวยากรณ์
• พูดด้วยเสียงแปลก
มักเปล่งเสียงสูง
เด็กบกพร่องทางการเห็น
• เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง
• มีความบกพร่องทางสายตา
• สามารถเห็นได้ถึง 1/10 รองสายตาปกติ
เด็กตาบอด
• เด็กที่ไม่สามารถมองเห็น
• ต้องใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้
• มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน
30 องศา
เด็กตาบอดไม่สนิท
• เด็กที่มีความยกพร่องทางสายตา
• สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการเห็น
• เดินงุ่มง่าน
ขนและสะดุดวัตถุ
• มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
•
มักบ่นว่าปวดศรีษะ
คลื่นไส้ ตาลาย คันตา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น